“Better tomorrow Read today” = “อ่านหนังสือวันนี้ เพื่อพรุ่งนี้ที่ดีกว่า”
FREEBOX

 

ชไวเกอร์, อัลริช. 2565. ซึมเศร้าใครว่าไม่อันตราย รีบรักษา อย่าเพิกเฉย แปลจากเรื่อง Depression Verstehen โดย ชาลิสา  เพชรดง. กรุงเทพฯ: นานมี บุ๊คส์. 206 หน้า. 245 บาท. 

 

ขั้นแรกของการรับมือภาวะซึมเศร้า คือการค้นหาคำตอบให้แก่คำถามเหล่านี้...
    - ฉันมีภาวะซึมเศร้าหรือไม่
    - ความรุนแรงของภาวะซึมเศร้าอยู่ในระดับใด
    - การดำเนินโรคเป็นอย่างไร
    - ฉันมีอาการตามประเภทย่อยของภาวะซึมเศร้าหรือไม่
    - ฉันมีโรควินิจฉัยร่วมทางจิตเวชอื่น ๆ หรือเปล่า
    - วิถีชีวิตแบบใดที่ก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้า
    จากนั้นจึงก้าวต่อสู่ขั้นที่สอง นั่นคือการประเมินตนเอง และเลือกว่าควรใช้แนวคิดหรือหลักการใด เพื่อให้ชีวิตได้สัมผัสความอิ่มเอมอีกครั้ง สุดท้าย ไม่ลืมเตรียมความพร้อมให้ตนเองในขั้นที่สาม นั่นคือการตอบคำถาม เช่น หากการรักษาครั้งแรกไม่ได้ผล ฉันทำอะไรได้บ้าง ฉันควรนำวิธีรักษาที่เหมาะสมแบบใดมาปรับใช้ เพราะความรู้และความเข้าใจคือกุญแจสำคัญในการไขปัญหา ให้หนังสือ "ซึมเศร้าใครว่าไม่อันตราย รีบรักษา อย่าเพิกเฉย" เล่มนี้ ได้ทำหน้าที่ส่งมอบกุญแจดอกนั้น พร้อมกับกำลังใจและความปรารถนาดี

 

จำนวนผู้เยี่ยมชม
เดือนนี้
3,404
ปีนี้
36,355
ผู้อำนวยการจากโรงเรียนเซนต์แอนดรูว์ ประเทศสิงคโปร์เข้าเยี่ยมชมห้องสมุด
ดูกิจกรรมทั้งหมด